ข้อมูลทั่วไปตำบลหาดอาษา
ประวัติความเป็นมา
ตำบลหาดอาษาได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลเป็นองค์กรการกบริหารส่วนตำบล
ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๑๙
มกราคม ๒๕๓๙
ตำบลหาดอาษาที่ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอสรรพยา
1.สภาพภูมิศาสตร์
๑.๑ ที่ตั้งและอาณาเขต
ตำบลหาดอาษาตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีระยะห่างจากที่ว่าการอำเภอสรรพยา
๑ กิโลเมตร มีอาณาเขตดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลตลุก อำเภอสรรพยา ตำบลเสือโฮก อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลเขาแก้ว อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท ตำบลหนองหม้อตาคลี จังหวัดนครสวรรค์
ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลโพนางดำออก อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท
ทิศตะวันตก ติดต่อกับแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลสรรพยา อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท
ทุกหมู่บ้านในตำบลหาดอาษามีพื้นที่อยู่ภายใต้การปกครองของเทศบาลตำบล ทั้งหมด
๑.๒ เนื้อที่
พื้นที่เทศบาลตำบลหาดอาษา มีจำนวนทั้งสิ้น
29.49 ตารางกิโลเมตร หรือจำนวน 22,943 ไร่ เป็นพื้นที่เกษตร 19,737 ไร่
๑.๓ ภูมิประเทศ
ตำบลหาดอาษามีสภาพเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำเจ้าพระยาและคลองมหาราชไหลผ่าน
เหมาะแก่การ ทำการเกษตร
โดยเฉพาะการทำนา และทำสวน ประชาชนตั้งบ้านเรือน เรียงรายเลียบริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา และบางส่วนตั้งบ้านเรือนเรียงรายตามถนนสายหลักในพื้นที่ตำบล เส้นทางคมนาคม สายหลักในตำบล คือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
32 ถนนเรียบคันคลองส่งน้ำชัยนาท – อยุธยา ถนนสายบ้านตึก
– เขาดิน ตำบลหาดอาษาอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมที่พัดผ่านประจำฤดู
ทำให้สามารถแบ่งฤดูออกได้ 3 ฤดู คือ
1.
ฤดูฝนเริ่มต้นประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม
โดยได้รับอิทธิพล
จากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ซึ่งเป็นลมร้อนและชื้น พัดจากมหาสมุทรอินเดียผ่านอ่าวไทยปกคลุมประเทศไทย ทำให้ฝนตกชุกทั่วไป
2.
ฤดูหนาวเริ่มต้นประมาณกลางเดือนตุลาคม ถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์
ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จะพัดพาเอาความแห้งแล้งและหนาวเย็นจากประเทศจีนเข้ามาปกคลุมประเทศไทยทำให้อากาศหนาวเย็นโดยทั่วไป
3.
ฤดูร้อน เริ่มประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ ถึงกลางเดือนเมษายน ระยะนี้เป็นช่วงว่างของฤดูมรสุมจึงมีลมจากทิศตะวันออกเฉียงใต้พัดผ่าน
ทำให้มีอากาศร้อนอบอ้าวทั่วไป
1.4 เขตการปกครอง
จำนวนหมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลหาดอาษา มีจำนวน 9 หมู่บ้าน ประกอบด้วยหมู่บ้านดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านหาดอาษา พื้นที่ 2.82 ตร.กม. หรือ 1,738 ไร่
หมู่ที่ 2 บ้านตึก พื้นที่ 2.53 ตร.กม. หรือ 2,482 ไร่
หมู่ที่ 3 บ้านบางตาเณร พื้นที่ 2.35 ตร.กม. หรือ 1,572 ไร่
หมู่ที่ 4 บ้านบางตาสุข พื้นที่ 3.67 ตร.กม.
หรือ 3,462 ไร่
หมู่ที่ 5 บ้านท่าทราย พื้นที่ 5.12 ตร.กม. หรือ 3,232
ไร่
หมู่ที่ 6 บ้านศรีมงคล พื้นที่ 2.80 ตร.กม.
หรือ 3,343 ไร่
หมู่ที่ 7 บ้านเขาดิน พื้นที่ 5.63 ตร.กม. หรือ
3,800 ไร่
หมู่ที่ 8 บ้านลำห้วย พื้นที่ 2.80 ตร.กม.
หรือ 2,232 ไร่
หมู่ที่
9 บ้านศาลาแดง พื้นที่ 1.77 ตร.กม. หรือ
1,082 ไร่
๑.๕ ประชากร (ทะเบียนราษฎร)
ประชากรทั้งสิ้น 6,762 คน แยกเป็นชาย 3,273 คน หญิง 3,489 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 232 คน / ตารางกิโลเมตร
๑.๕ ประชากร (ทะเบียนราษฎร)
ประชากรทั้งสิ้น 6,762 คน แยกเป็นชาย 3,273 คน หญิง 3,489 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 232 คน / ตารางกิโลเมตร
ชื่อหมู่บ้าน
|
ครัวเรือน
|
ประชากร (คน)
|
||
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
||
หมู่ที่ 1 บ้านหาดอาษา
หมู่ที่ 2 บ้านตึก
หมู่ที่ 3 บ้านบางตาเณร
หมู่ที่ 4 บ้านบางตาสุข
หมู่ที่ 5 บ้านท่าทราย
หมู่ที่ 6 บ้านศรีมงคล
หมู่ที่ 7 บ้านเขาดิน
หมู่ที่ 8 บ้านลำห้วย
หมู่ที่ 9 บ้านศาลาแดง
|
268
329
245
352
277
241
143
100
226
|
432
440
404
558
479
308
193
168
291
|
443
533
412
564
502
380
178
162
315
|
875
973
816
1,122
981
688
371
330
606
|
รวม
|
2,181
|
3,273
|
3,489
|
6,762
|
2.
สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 อาชีพ
- เกษตรกรรม ร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะทำนาข้าวมากที่สุนอกจากนั้น
มีการทำสวนผักและผลไม้ซึ่งมีจำนวนน้อย
- รับจ้าง
- ลูกจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม
- รับจ้างทำงานเกี่ยวกับเกษตรกรรม
เช่น รับจ้างพ่นสารเคมี กำจัดศัตรูพืช
รับจ้างหว่านข้าว หว่านปุ๋ย รับจ้างขนถ่ายผลผลิตฯ
- ค้าขาย
- รับราชการ
- เลี้ยงสัตว์
- อื่น ๆ
2.2 หน่วยธุรกิจในเทศบาลตำบลหาดอาษา
-
โรงงานอุตสาหกรรม 4
แห่ง
-
ปั้มน้ำมันชนิดมีหัวจ่าย จำนวน 7 แห่ง แบบมือหมุน จำนวน 9 แห่ง -
โรงสี 3 แห่ง
- ตลาดนัด 5 แห่ง
-
ร้านค้า 101 แห่ง
3.
สภาพสังคม
3.1 การศึกษา
-
โรงเรียนประถมศึกษา 3 แห่ง
-
โรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนระดับมัธยม (ขยายโอกาส) 1 แห่ง
-
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน 2
แห่ง
-
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
4 แห่ง
3.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา
-
วัด 3
แห่ง ได้แก่ วัดหาดอาษา วัดยางศรีเจริญ และวัดศรีมงคล
-
ศาลเจ้า 1 แห่ง
3.3 สาธารณสุข
-
สถานีอนามัย
3 แห่ง ได้แก่ สถานีอนามัยตำบลหาดอาษา
สถานีอนามัยบ้านหาดอาษา สถานีอนามัยบ้านเขาดิน
-
อสม. 140 คน
-
ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน 9 แห่ง
หมู่ที่
1 จำนวน 13 คน
หมู่ที่ 2 จำนวน 21 คน
หมู่ที่ 3 จำนวน 11 คน
หมู่ที่ 4 จำนวน 15 คน
หมู่ที่ 5 จำนวน 18 คน
หมู่ที่ 6 จำนวน 17 คน
หมู่ที่ 7 จำนวน 16 คน
หมู่ที่ 8 จำนวน 13 คน
หมู่ที่ 9 จำนวน 16 คน
-
ร้านขายยา
จำนวน 1 แห่ง
- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
-
ป้อมตำรวจ
จำนวน 1 แห่ง
-
อปพร.
จำนวน 131 คน
4. การบริการพื้นฐาน
4.1 การคมนาคม
การคมนาคมมีอยู่ 2 ทาง
4.1.1ทางบก
- ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข
32 (สายเอเชีย) เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาด
8 ช่องทาง ระยะทาง 8
กิโลเมตร
- ถนนสายคันคลองส่งน้ำ ชัยนาท
– อยุธยา (คันคลองมหาราช) เป็นถนนลาดยาง ระยะทาง ๘ กิโลเมตร
-
ถนนสายบ้านตึก – ลำห้วย เป็นระยะทาง
4 กิโลเมตร
-
ถนนในหมู่บ้านเป็นถนน คสล. และมีถนนลูกรังเป็นบางช่วง
4.1.2 ทางน้ำ
มีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นทางคมนาคม มีเรือข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
4.2 การโทรคมนาคม
-
โทรศัพท์สาธารณะ
จำนวน
21 แห่ง
4.3 การไฟฟ้า
-
จำนวนหมู่บ้านที่มีไฟฟ้าเข้าถึงมีครบทั้ง 9 หมู่บ้าน จำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้า คิดเป็นร้อยละ
98
4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
-
แม่น้ำ 1 สาย
-
บึง , หนอง 9 แห่ง
-
หนองแกบอน อยู่ในหมู่ที่ 2
- หนองตาถุง (ฝั่งตะวันตก) อยู่ในหมู่ที่ 4
-
หนองชะโด อยู่ในหมู่ที่
4
-
หนองตะพาบ อยู่ในหมู่ที่ 5
- หนองปลาหมอ อยู่ในหมู่ที่ 5
- หนองหาญ อยู่ในหมู่ที่ 6
- หนองนาก อยู่ในหมู่ที่ 6
- หนองตาถุง (ฝั่งตะวันออก) อยู่ในหมู่ที่ 7
4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
-
คลองส่งน้ำ 3 สาย
-
บ่อน้ำตื้น 12 แห่ง
-
บ่อน้ำบาดาล/บ่อมือโยก 289 แห่ง
-
ประปาหมู่บ้าน 9 แห่ง
5. ข้อมูลอื่น ๆ
5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
มีแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักไหลผ่าน มีคลองส่งน้ำชลประทานผ่าน
3 สาย คือ
คลองส่งน้ำชัยนาท – อยุธยา คลองส่งน้ำ
2 ซ้าย คลองส่งน้ำ 5 ขวา
5.2 มวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน 80 คน
- ไทยอาสาป้องกันชาติ 23
คน
- อปพร. 131 คน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น